fbpx

Author: admin

PARA-ARAMID

Read more

สารช่วยในกระบวนการผลิต PROCESSING AID

HTML Editor – Full Version   สารช่วยในกระบวนการผลิต PROCESSING AID สารช่วยในกระบวนการผลิต (processing aid) คือ สารเคมีที่เติมเข้าไปในยาง เพื่อช่วยให้การผสม หรือการขึ้นรูปเป็นไปได้ง่ายยิ่งขึ้น เนื่องจากสารเคมีในกลุ่มนี้ จะช่วยลดพลังงานที่ใช้ในการผลิต นอกจากนี้ยังมีสารช่วยในกระบวนการผลิตอื่นๆ ที่เติมลงไปในยาง เพื่อจุดประสงค์เฉพาะบางอย่างที่ทำให้กระบวนการผลิตเป็นไปได้ง่ายยิ่งขึ้น ตัวอย่างของสารช่วยในกระบวนการผลิตเหล่านี้ ได้แก่ เพปไทเซอร์(peptizers), แฟกทิซ (factice) ฯลฯ. โดยปกติแล้วแฟกทิซ (factice) เป็นสารเคมีที่เติมลงไปเพื่อจุดประสงค์เฉพาะ เช่น ต้องการประหยัดพลังงานในระหว่างการผสม หรือต้องการเพิ่มความแข็งแรงให้แก่ยางคอมพาวด์(green strength), เพิ่มความเสถียรทางรูปร่างให้แก่ยางคอมพาวด์ที่ได้รับการขึ้นรูปด้วยการเอ็กซทรูด(extruded) และช่วยทำให้พื้นผิวยางที่ขึ้นรูปมีความเรียบมากขึ้น อย่างไรก็ตาม การเติมแฟกทิซลงไปจะทำให้สมบัติเชิงกลของยางด้อยลง โดยเฉพาะความต้านทานต่อการขัดถู ซึ่งสารช่วยในกระบวนการผลิต (processing aid) ที่ได้กล่าวมานี้ ก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่จะต้องคำนึงถึงในการออกสูตรเคมียางอีกด้วย

Read more

ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับการบ่ม

ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับการบ่ม                            CURING MATERIAL       สารกลุ่มนี้จะทำให้โมเลกุลของยางเกิดการเปลี่ยนแปลง ทำให้ยางอยู่ในสถานะที่ยืดหยุ่นได้สูง หรืออาจใช้คำว่า “คงรูป” แต่ตามโรงงานมักเรียกกันว่า “ยางสุก” สารที่ทำให้ยางคงรูปแบ่งเป็น 2 ระบบใหญ่ๆ ได้แก่ • ระบบที่ใช้กำมะถัน (sulfur) นิยมใช้ในยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ส่วนใหญ่ที่มีพันธะคู่ในโมเลกุลสูง • ระบบที่ใช้เพอร์ออกไซด์ (peroxide) ซึ่งนิยมใช้ในยางที่มีปริมาณพันธะคู่ในโมเลกุลต่ำ นอกจาก 2 ระบบดังกล่าว ยังมีการใช้สารคงรูปพวกโลหะออกไซด์ เช่น แมกนีเซียมออกไซด์และซิงก์ออกไซด์ (MgO/ZnO) ในยางสังเคราะห์บางชนิด เช่น ยางคลอโรพรีน (CR) • ระบบยางคงรูปโดยกำมะถัน (sulphur vulcanization system)           […]

Read more

โคลอยด์ ซัลเฟอร์

โคลอยด์ ซัลเฟอร์                               COLLOIDAL SULPHUR          กำมะถันคอลลอยด์ หรือ โคลอยด์ ซัลเฟอร์ (Colloidal sulfur, Colloidal sulphur ) มีลักษณะเป็นผงสีเหลือง มีกลิ่นเล็กน้อย เป็นสารที่ใช้ในการคงรูปเช่นเดียวกับกำมะถัน แต่จะใช้กับน้ำยาง (rubber latex) เช่น NR Latex, CR , Latex, SBR , Latex เป็นต้น ซึ่งสามารถนำไปใช้งานได้หลากหลายอุตสาหกรรม โดยเฉพาะถุงยางอนามัย ,ยางยืดหน้ากากอนามัย และถุงมือทางการแพทย์   •ผลิตภัณฑ์ที่ใช้โคลอยด์ ซัลเฟอร์ (Colloidal sulfur, Colloidal sulphur)     […]

Read more

กำมะถัน

กำมะถัน SULPHUR            กำมะถัน หรือ ซัลเฟอร์ (sulfur, sulphur) มีลักษณะเป็นผงสีเหลือง เป็นสารที่ก่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลของยาง (cross-link) ตรงตําแหน่งที่ว่องไวต่อปฏิกิริยา  เพื่อการปรับปรุงสมบัติของผลิตภัณฑ์ยางให้ดีขึ้น ปฏิกิริยาที่เกิด    เรียกว่า “การคงรูป”  หรือ ” การวัลคาไนซ์      (Cure หรือ Vulcanisation)”                 การคงรูปด้วยกำมะถัน (sulfur, sulphur) นั้นนิยมใช้กันมากที่สุดในปัจจุบัน เนื่องจากต้นทุนต่ำ การวัลคาไนซ์เกิดขึ้นได้เร็ว และยางคงรูปที่ได้มีสมบัติเชิงกลที่ดี นิยมใช้กับยางทุกชนิดที่มีพันธะคู่อยู่ในโมเลกุล โดยเฉพาะยางธรรมชาติ (NR) และ ยางสังเคราะห์ เช่น SBR, IR, BR, NBR เป็นต้น […]

Read more

ZINC OXIDE

ซิงค์ออกไซด์           ZINC OXIDE     สูตรโครงสร้างของซิงค์ออกไซด์ (zinc oxide)                                                        ชื่อทางเคมี : ซิงค์ออกไซด์ หรือ สังกะสีออกไซด์   สูตรโมเลกุล : ZnO   น้ำหนักโมเลกุล : 81.38   ลักษณะ : […]

Read more

Zinc Carbonate

ซิงค์คาร์บอเนต                ZINC CARBONATE     สูตรโครงสร้างซิงค์คาร์บอเนต (Zinc Carbonate)                                                      ชื่อทางเคมี : ซิงค์คาร์บอเนต (Zinc Carbonate) สูตรโมเลกุล : ZnCO3 น้ำหนักโมเลกุล : 125.38    ซิงค์คาร์บอเนต  (Zinc Carbonate)  มีขนาดอนุภาคละเอียด […]

Read more

MAGNESIUM OXIDE

แมกนีเซียมออกไซด์           MAGNESIUM OXIDE     สูตรโครงสร้างของแมกนีเซียมออกไซด์ (MgO)                                                      ชื่อทางเคมี : แมกนีเซียมออกไซด์ (Magnesium oxide) สูตรโมเลกุล : MgO น้ำหนักโมเลกุล : 40.305              แมกนีเซียมออกไซด์ (magnesium oxide; MgO) มีลักษณะเป็น ผงสีขาว […]

Read more

สารตัวเร่ง ZDBC (BZ)

สารตัวเร่ง ZDBC (BZ)     ACCELERATOR ZDBC (BZ)   โครงสร้างสารตัวเร่ง ZDBC (BZ) ชื่อทางเคมี    : Zinc dibutyl dithiocarbamate สูตรโมเลกุล : C18H36N2S4Zn น้ำหนักโมเลกุล : 474.12 CAS NO. : 136-23-2 คุณสมบัติ • สารตัวเร่ง ZDBC (BZ) มีลักษณะเป็นผงสีขาว • สารตัวเร่ง ZDBC (BZ) ละลายในคาร์บอนไดซัลไฟด์ (CS2), เบนซีน, คลอโรฟอร์ม, แอลกอฮอล์, และไดเอทิลอีเทอร์ • สารตัวเร่ง ZDBC (BZ) ไม่ละลายในน้ำ และแอลคาไลน์ที่ความเข้มข้นต่ำ • สารตัวเร่ง ZDBC (BZ) มีความเสถียรดีมาก เมื่อจัดเก็บที่สภาวะปกติ   […]

Read more

สารตัวเร่ง ZDEC (EZ)

สารตัวเร่ง ZDEC (EZ)     ACCELERATOR ZDEC (EZ)            โครงสร้างสารตัวเร่ง ZDEC (EZ)     ชื่อทางเคมี     : Zinc diethyl dithiocarbamate  สูตรโมเลกุล : C10H20N2S4Zn  น้ำหนักโมเลกุล : 361.91  CAS NO. : 14324-55-1     คุณสมบัติ     • สารตัวเร่ง ZDEC (EZ) มีลักษณะเป็นผงสีขาว     • สารตัวเร่ง ZDEC (EZ) ละลายได้ในสารละลาย 1 % โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH),  คาร์บอนไดซัลไฟด์ (CS2), เบนซีน, คลอโรฟอร์ม […]

Read more
error: